1.จงบอกเหตุผลในการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
การนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ในงานอุตสาหกรรม
การใช้คอมพิวเตอร์ในการคานวณเพื่อประยุกต์ใช้ในงานด้านวิศวกรรมและช่วยงานด้านอุตสาหกรรมนั้น คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในยุคนี้มีขนาดเล็กลงเนื่องมาจากความก้าวหน้าของการผลิตด้าน ไมโครอิเล็กทรอนิกส์ และทาให้คอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถสูงขึ้นและมีราคาถูกลงจึงได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่เป็นจานวนมากจึง เกิดการพัฒนาทางด้านฮาร์ทแวร์และซอฟต์แวร์เกิดเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์กราฟิคซึ่งเป็นการสร้างภาพในคอมพิวเตอร์ให้เห็นการทางานของเครื่องจักรเป็นรูปธรรมและใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างแบบเป็นการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบหรือที่เรียกว่า CAD (computer aided design) และต่อมาได้มีการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตหรือที่เรียกว่า CAM (computer aided manufacturing) ซึ่งใช้ร่วมกับCADโดยการใช้ข้อมูลร่วมกัน จึงเรียกรวมกันว่า CAD/CAM
ประมาณ
. 2500 คอมพิวเตอร์
ใน
หน่วยงาน
1 . คอมพิวเตอร์
สามารถจัด
2 . คอมพิวเตอร์
สามารถทำ
3 . คอมพิวเตอร์
สามารถทำ
4 . คอมพิวเตอร์
สามารถทำ
5 .คอมพิวเตอร์
สามารถทำ
1 . บท
บาทของ
ปัจจุบัน
ตามสถาน
ตัว
อย่างใน
2 . บท
บาทของ
คอมพิวเตอร์
สามารถจะ
3 . บท
บาทของ
คอมพิวเตอร์
สามารถทำ
4 . บท
บาทคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
สามารถจัด
5 . บท
บาทของ
ใน
แวดวง
6 . บท
บาทของ
7 . บท
บาทคอมพิวเตอร์
8 . บท
บาทของ
ใน
|
ปัจจุบัน เรา
สำหรับ
การใช้
9 . บท
บาทของ
ใน
วงการ
ใน
รายงาน
10 . บท
บาทของ
คอมพิวเตอร์
ถูกนำ
2.จงอธิบายระบบ CIM
โดยงาน 3 ส่วนมีการทางานร่วมกันเรียกว่า CIM ย่อมาจากคาว่า computer integrated manufacturing เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบที่ทาการผลิตแบบอัตโนมัติกับการจัดการสารสนเทศ
โดยระบบจะช่วยทาการผลิตแบบอัตโนมัติคือช่วยในการออกแบบและผลิตควบคุมเครื่องมือหรือเครื่องจักรจะเป็นการทางานด้วยคาสั่งจากคอมพิวเตอร์เช่นการควบคุมหุ่นยนต์อุตสาหกรรมและการวางแผนการใช้วัตถุดิบในการผลิตโดยอัตโนมัติ การวางแผนงานจะสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายได้จะต้องมีการจัดข้อมูลที่ต้องใช้ทั้งหมดมารวมอยู่เพียงแห่งเดียวจากนั้นก็จัดการกระบวนการผลิตทั้งหมดโดยอัตโนมัติได้ทันที
ข้อมูลที่สร้างขึ้นโดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะถูกนามาเก็บไว้ที่ศูนย์สารสนเทศเพื่อที่ให้ฝ่ายอื่น ๆ สามารถนาไปใช้งานและนาไปทดสอบหรือแก้ไขโดยฝ่ายอื่นได้ ตัวอย่างเช่นหากมีการสั่งทาสินค้ามาชนิดหนึ่งฝ่ายออกแบบก็จะออกแบบสินค้าตามความต้องการของลูกค้าฝ่ายวิศวกรก็จะนาข้อมูลจากการออกแบบนี้ไปทดสอบว่าจะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่หากทุกย่างเรียบร้อยฝ่ายจัดหาวัตถุดิบก็จะเตรียมวัสดุไว้เป็นปริมาณตามต้องการจากนั้นฝ่ายควบคุมการผลิตก็นำข้อมูลเกี่ยวกับตัวสินค้าซึ่งได้มีการออกแบบและทดสอบเรียบร้อยแล้วไปผลิตต่อไปและขณะที่ผลิตสินค้าแผนกอื่น ๆ ก็นาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้านี้ไปใช้งานด้วยจึงทาให้สามารถเตรียมการต่าง ๆ ได้ล่วงหน้าเช่นฝ่ายบรรจุหีบห่อซึ่งทราบขนาดและจานวนของสินค้าจากศูนย์สารสนเทศ ก็จะเตรียมหีบห่อไว้ ในขณะเดียวกันก็จะเตรียมออกใบเสร็จให้ลูกค้า การทางานของระบบ CIM
3.จงบอกประโยชน์ของของการใช้ CIM
เป็นทั้งกระบวนการผลิตและชื่อของระบบอัตโนมัตที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ โดยมีหน้าที่สนับสนุนการทำงานและเป็นระบบการจัดการของระบบการผลิตที่ประกอบด้วยฝ่ายต่างๆ เช่น ฝ่ายงานวิศวกรรม ฝ่ายงานการผลิต ฝ่ายการตลาด และฝ่ายการสนับสนุนอื่นๆ ขอบข่ายหน้าที่การทำงานของ CIM มีหลากหลายอย่าง เช่น ออกแบบ วิเคราะห์ วางแผน จัดซื้อ จัดการบัญชีต้นทุน ควบคุมคงคลัง และการกระจายผลิตภัณฑ์ เหล่านี้จะถูกเชื่อมโยงโดยคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์ หรือหน่วยต่างๆ ภายในองค์กร CIM จะทำให้สามารถควบคุมกระบวนการได้โดยตรงและสามารถแสดงการทำงานปัจจุบันของทุกกระบวนการทำงาน
4. จงอธิบายการใช้ CADในงานอุตสาหกรรม
คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต (computer aided manufacturing or CAM) หมายถึงการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตสินค้าในโรงานอุตสาหกรรม เนื่องจากระบบคอมพิวเตอร์จะมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ในการทางานที่ซ้ากันตลอดจนสามารถตรวจสอบรายละเอียดข้อผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานที่ต้องการซึ่งจะช่วยประหยัดระยะเวลาและแรงงานประการสาคัญช่วยให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์มีความสม่าเสมอตามที่กาหนด (คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต, 2551)
CAM คือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเขียนโปรแกรมเพื่อนาใช้ควบคุมเครื่องจักรกลซีเอ็นซี โดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก CAD ไปทาการกาหนดว่าจะใช้เครื่องจักรชนิดใดในการผลิต, ใช้อุปกรณ์ตัดเฉือนอะไรบ้าง,ใช้วัสดุทาชิ้นงานขนาดเท่าใด,วางตาแหน่งที่อ้างอิงอย่างไร,ใช้วิธีการตัดเฉือนและมีขั้นตอนทางานอย่างไร รวมไปถึงการใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองขั้นตอนการทางานและการตรวจสอบความถูกต้องในกระบวนการผลิต (คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต, 2551)
CAM เป็นคาย่อมาจากคาว่า computer aided manufacturing ซึ่งแปลตามศัพท์ได้ความว่า คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตซึ่งจะใช้ซอฟต์แวร์ เพื่อควบคุมเครื่องจักรให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว (คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิต, 2551)
CAM คือคาย่อของ computer aided manufacturing แปลเป็นภาษาไทยว่าคอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตเป็นการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสร้างระบบรหัสจี (G-code) เพื่อควบคุมเครื่องจักรซีเอ็นซีในการกัดขึ้นรูปชิ้นส่วน โดยใช้ข้อมูลทางรูปร่างจาก CAD
สรุป คอมพิวเตอร์ช่วยในการผลิตหมายถึง การนาคอมพิวเตอร์มาควบคุมกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตั้งแต่เริ่ม และจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ เพื่อเป็นการลดแรงงานและงานที่ได้ตรงตามสเป็คและมีประสิทธิภาพสูงตรงกับความต้องการโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
5. จงอธิบายการใช้ CAMในงานอุตสาหกรรม
CAM Positioner มีการใช้งานกันอย่างกว้างขวางในเครื่องจักรอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานบรรจุภัณฑ์ หรืองานที่มีลักษณะหมุนเป็นวงรอบหรือวงกลม CAM Positioner จะประกอบด้วยเซนเซอร์ป้อนกลับและคอนโทรลเลอร์ทำหน้าที่วัดองศาและสั่งให้เอาท์พุททำงานตามตำแหน่งองศาที่ตั้งไว้ ซึ่งการใช้งานจะง่ายกว่าการใช้พีแอลซีเพราะไม่ต้องเขียนโปรแกรมที่ซับซ้อน เพียงแค่ตั้งองศาการทำงานบนคอนโทรลเลอร์เท่านั้น ส่วนเซนเซอร์ป้อนกลับที่นิยมใช้งานจะมี 2 แบบด้วยกันคือ Encoder กับ Resolver อุปกรณ์ทั้งสองมีข้อดีละข้อเสียที่แตกต่างกัน ดังจะอธิบายต่อไป
Resolver กับ Encoder มีข้อแตกต่างกันหลายอย่าง อุปกรณ์ทั้ง 2 ชนิด นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรม แต่มีหลายท่านไม่ทราบหลักการทำงานของอุปกรณ์ดังกล่าวมากนัก จึงมีการเลือกใช้อย่างไม่เหมาะสม ในลำดับถัดไปเราจะกล่าวถึงหลักการทำงานและเปรียบเทียบข้อแตกต่าง เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกใช้อุปกรณ์ทั้ง 2 ให้เหมาะสม
Resolver ทำงานอย่างไร ?
Resolver ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อประโยชน์ทางการทหารเป็นเวลามากกว่า 50 ปี มีการใช้งานและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในปัจจุบันได้มีการนำ Resolver มาใช้งานกันอย่างกว้างขวางในวงการอุตสาหกรรม โดยใช้เป็นเซนเซอร์เพื่อตรวจจับตำแหน่ง นิยมใช้ในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ เป็นต้น
โครงสร้างของ Resolver
Resolver คือ หม้อแปลงไฟฟ้าแบบโรตารี่ (Rotary Transformer) ที่ทำหน้าที่ส่งผ่านพลังงานในรูปแบบของ SIN ไปยังเพลาหมุน (Rotor) Resolver จะมีขดลวด Primary เรียกว่าขดลวดอ้างอิง (Reference Winding) และขดลวด Secondary ซึ่งมี 2 ชุดเรียกว่าขดลวด SIN และขดลวด COS (ดังแสดงในรูป 2) ขดลวดอ้างอิงจะอยู่บน Rotor ของ Resolver ส่วนขดลวด SIN และขดลวด COS จะอยู่ที่ Stator โดยที่ขดลวด SIN และ COS จะถูกว่างในมุมที่ต่างกันทางกล 90 องศา
ในกรณีของ Resolver ที่ไม่มีแปลงถ่าน พลังงานไฟฟ้าจะถูกจ่ายเข้าที่ขดลวดอ้างอิง (Rotor) ผ่านทางหม้อแปลงไฟฟ้าโรตารี่ (Rotary Transformer) ทำให้ไม่ต้องใช้แปลงถ่านและ Slip ring
ปกติแล้วขดลวดอ้างอิงจะถูกกระตุ้นจากแรงดันไฟฟ้า AC เรียกว่าแรงดันอ้างอิง (Vr) ดังแสดงในรูปที่ 2 แรงดันเหนี่ยวนำที่เกิดขึ้นในขดลวด SIN และ COS จะเท่ากับค่าของแรงดันอ้างอิงคูณกับค่า SIN (Vs = Vr * SIN) หรือ COS (Vc = Vr * COS) ของมุมที่เพลา เมื่อเปรียบเทียบกับจุดศูนย์ ดังนั้น Resolver จะทำให้ค่าแรงดันสองค่านี้ออกมา ซึ่งเป็นอัตราส่วนของค่าตำแหน่งของเพลา (SIN/COS = TAN , ซึ่ง = มุมของเพลา) เนื่องจากอัตราแรงดัน SIN และ COS คือ ค่าของมุมเพลาและเป็นค่าสมบูรณ์ ดังนั้นค่าที่ได้จะไม่มีรับผลกระทบจากอุณหภูมิแวดล้อมหรืออายุการใช้งาน ซึ่งเป็นข้อดีของ Resolver
6.อธิบายการใช้ CAD/CAMในงานอุตสาหกรรม
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรมนั้นจะเริ่มตั้งแต่การออกแบบการผลิต การตรวจเช็คสินค้า ฯลฯ โดยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้มีตั้งแต่ระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เช่น เมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานออกแบบวิเคราะห์แบบควบคุมการผลิต การควบคุมหุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และขนาดกลาง จนถึงระดับไมโครคอมพิวเตอร์ที่เริ่มเข้ามามีบทบาทช่วยในกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง 2-3 ปี ที่ผ่านมานี้ไมโครคอมพิวเตอร์ได้มีวิวัฒนาการขึ้นจนกลายเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพอีกทั้งราคาไม่แพง การประยุกต์ใช้งานก็มีมากขึ้นเป็นเงาตามตัวไม่ว่าจะเป็นงานด้านธุรกิจหรือทางด้านการศึกษาและด้านวิศวกรรมอุตสาหกรรม
การประยุกต์ใช้ CAD/CAM ในงานอุตสาหกรรมสามารถที่จะประยุกต์ได้จากตัวอย่างการใช้งาน CAD/CAM ในแต่ละประเภทดังนี้
1. อุตสาหกรรมสิ่งทอสามารถประยุกต์ใช้ CAD/CAM ได้หลายลักษณะ เช่น
1.1 การใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบลายผ้าการ
1.2 การใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบสร้าง pattern
1.3 การใช้คอมพิวเตอร์วางแผนการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพไม่ให้เศษผ้าเหลือมากไป
1.4 การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการตัดผ้าด้วย laser ซึ่งทาให้การตัดทาได้ครั้งละมาก ๆ และเกิดความถูกต้องสูงมีประสิทธิภาพ
2. อุตสาหกรรมพลาสติกการประยุกต์ใช้ CAD/CAM อาจทาได้หลายลักษณะ เช่น
2.1 การใช้CAD ช่วยในการออกแบบผลิตภันฑ์
2.2 การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการทดสอบ วิเคราะห์แบบ
2.4 การสร้างแบบจาลองของการฉีดพลาสติกเข้าในเบ้า เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่มีคุณสมบัติตามความต้องการของผู้บริโภค
3. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การประยุกต์ใช้งาน CAD/CAM ทาได้หลายลักษณะเช่น
3.1 การใช้ CAD ช่วยออกแบบวงจรแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์พร้อมทั้งทดสอบการทางาน
3.2 การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบวงจร PC board
3.3 การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเจาะรูเพื่อใส่ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
44
ประโยชน์ของการประยุกต์ใช้ CAD/CAM ในงานอุตสาหกรรม
1. ความคล่องตัวในการผลิตสินค้าด้วยเทคโนโลยีการออกแบบการควบคุมการผลิตด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทาให้สามารถดัดแปลงแก้ไขกระบวนการผลิต หรือลักษณะของสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ความรวดเร็วในการตอบสนองความต้องการของตลาด หากตลาดมีความต้องการในสิ่งใหม่ ๆ ก็จะสามารถผลิตออกสู่ตลาดได้อย่างรวดเร็วเพราะขั้นตอนการทางานไม่ซ้าซ้อน
3. ไม่มีการจัดเก็บข้อมูลหลายครั้ง ข้อมูลถูกเก็บไว้ที่เดียวฝ่ายใดต้องการใช้ก็สามารถทาได้โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาใหม่ทาให้เกิดความรวดเร็วและมีมาตรฐาน
ข้อเสียของการประยุกต์ใช้ CAD/CAM ในงานอุตสาหกรรม
1. ราคาแพงแม้ว่าปัจจุบันราคาของไมโครคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องจะลดลงมาก แต่หากเป็นโรงงานขนาดเล็กก็อาจจะยังไม่คุ้มกับการลงทุน
2. ต้องการบุคลากรที่มีความสามารถเนื่องจากคอมพิวเตอร์ต้องการดูแล และการสั่งงานอย่างมีระบบ ดังนั้น จึงต้องมีการจ้างผู้มีความสามารถ หรืออาจอบรมให้พนักงานได้เข้าใจ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น